สาระสำคัญ
สาระสำคัญ
การยอมรับในอัตลักษณ์และเคารพความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม ทำให้เราอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างสันติ และเกิดการพึ่งพาซึ่งกันและกัน
การยอมรับในอัตลักษณ์และเคารพความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม ทำให้เราอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างสันติ และเกิดการพึ่งพาซึ่งกันและกัน
1.การยอมรับในอัตลักษณ์และเคารพความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม
1.การยอมรับในอัตลักษณ์และเคารพความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม
1) บุคคลในภาพมีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
1) บุคคลในภาพมีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไรบ้าง
เป็นเพศชายเหมือนกัน มีความแตกต่างกันในเรื่อง สีผิว ลักษณะรูปร่าง การแต่งกาย
เป็นเพศชายเหมือนกัน มีความแตกต่างกันในเรื่อง สีผิว ลักษณะรูปร่าง การแต่งกาย
2) นอกจากสิ่งที่เห็นในภาพ นักเรียนคิดว่าบุคคลในภาพมีอะไรอีกบ้างที่ แตกต่างกัน
2) นอกจากสิ่งที่เห็นในภาพ นักเรียนคิดว่าบุคคลในภาพมีอะไรอีกบ้างที่ แตกต่างกัน
ลักษณะนิสัย ค่านิยม ขนบธรรมเนียม ความเชื่อ การนับถือศาสนา
ลักษณะนิสัย ค่านิยม ขนบธรรมเนียม ความเชื่อ การนับถือศาสนา
การอยู่ร่วมกันในสังคมย่อมมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ซึ่งแต่ละวัฒนธรรมก็ย่อมมีอัตลักษณ์เป็นของตนเอง
การอยู่ร่วมกันในสังคมย่อมมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ซึ่งแต่ละวัฒนธรรมก็ย่อมมีอัตลักษณ์เป็นของตนเอง
อัตลักษณ์ หมายถึง ลักษณะเฉพาะของบุคคลที่แสดงออกมาในรูปแบบกายภาพ เช่น เพศ สีผิว และสังคมวัฒนธรรม เช่น ภาษา ศาสนา ความเชื่อ วิถีชีวิต เป็นต้น
อัตลักษณ์ หมายถึง ลักษณะเฉพาะของบุคคลที่แสดงออกมาในรูปแบบกายภาพ เช่น เพศ สีผิว และสังคมวัฒนธรรม เช่น ภาษา ศาสนา ความเชื่อ วิถีชีวิต เป็นต้น
สังคมพหุวัฒนธรรม หมายถึง สังคมที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม มีรูปแบบวิถีชีวิตที่แตกต่างกัน แต่มาอยู่ในสังคมเดียวกัน ใช้ชีวิตร่วมกัน อยู่ภายใต้กฎหมายหรือกติกาของสังคมเดียวกัน แต่ละกลุ่มยังคงรักษารูปแบบของตนไว้ แต่ไม่ขัดแย้งกัน
สังคมพหุวัฒนธรรม หมายถึง สังคมที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม มีรูปแบบวิถีชีวิตที่แตกต่างกัน แต่มาอยู่ในสังคมเดียวกัน ใช้ชีวิตร่วมกัน อยู่ภายใต้กฎหมายหรือกติกาของสังคมเดียวกัน แต่ละกลุ่มยังคงรักษารูปแบบของตนไว้ แต่ไม่ขัดแย้งกัน
สังคมไทย เป็นสังคมพหุวัฒนธรรม เพราะประกอบด้วยคนหลายเชื้อชาติ ศาสนา ภาษาและวัฒนธรรม (ความเชื่อ วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี)
สังคมไทย เป็นสังคมพหุวัฒนธรรม เพราะประกอบด้วยคนหลายเชื้อชาติ ศาสนา ภาษาและวัฒนธรรม (ความเชื่อ วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี)
การอยู่ร่วมกันในสังคมท่ามกลางความแตกต่าง และแต่ละบุคคลก็มีอัตลักษณ์เฉพาะตน สมาชิกในสังคมควรยอมรับอัตลักษณ์และเคารพในความแตกต่างที่เกิดขึ้น เพื่อจะได้อยู่ร่วมกันอย่างสันติ และมีความสงบสุข
2.การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ และการพึ่งพาอาศัยกัน
2.การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ และการพึ่งพาอาศัยกัน